รู้จักโลกการเงินดิจิทัล กับ 4 วิธีปรับตัวรับอย่างราบรื่น

‘มันยอดเยี่ยมที่ได้กลับมาเล่นที่แอนฟิลด์ - มาสู่ต่อไปอย่างดีที่สุดกันเถอะ

ลิเวอร์พูลจะลับมาลงเล่นที่แอนฟิลด์ในเกมกับวัตฟอร์ดช่วงเที่ยงวันเสาร์ ซึ่งเป็นเกมแรกของตารางแข่งแปดเกมรวมสามรายการแข่งขันในเดือนเมษายน

กัปตันทีมได้เขียนลงในคอลัมน์ของหนังสือโปรแกรมทางการของสโมสรว่า “มันเกือบหนึ่งเดือนมาแล้ว ตั้งแต่ที่เราลงเล่นที่แอนฟิลด์ในพรีเมียร์ลีก แต่ส่วนใหญ่มันเกิดขึ้นในช่วงกลางสัปดาห์ซึ่งทำให้มันดูนานยิ่งกว่า”

“ทั้งหมดที่ผมรู้คือ มันเยี่ยมมากที่ได้กลับมาที่นี่ ลงเล่นต่อหน้าแฟน ๆ ของเราเองในตอนเริ่มต้นของช่วงเวลาที่เชื่อเถอะว่าจะเป็นช่วงที่วุ่นวายอย่างที่เราเคยได้มีส่วนร่วมมาก่อน”

“ผู้คนจะเบื่อหน่ายอย่างไม่ต้องสงสัยเลย เมื่อเราพูดว่าเราจะรับมือไปทีละเกม แต่เราจะมองข้ามไปข้างหน้าได้อย่างไร เมื่อคู่ต่อสู้ของเราทุกทีมต่างก็เป็นความท้าทายในแบบของพวกเขาเอง และเมื่อสิ่งหนึ่งมี่พวกเขาอยากจะให้เราเป็น คือ ถูกทำให้ฟุ้งซ่านกับเกมถัดไปหรือเกมหลังจากนั้น?”

“สิ่งเดียวที่เราสามารถพูดได้อย่างแน่นอนกับช่วงสองเดือนที่เหลือของฤดูกาล คือ จะทำงานที่หนักมาก ๆ ให้เรียบร้อย แต่งานใหญ่ยังรออยู่ข้างหน้า เริ่มต้นด้วยการมาเยือนของวัตฟอร์ด ทีมที่กำลังต่อสู้เพื่อความอยู่รอด และเป็นหนึ่งในทีมที่มีคุณภาพซึ่งสามารถและจะลงโทษเรา ถ้าเราเสียสมาธิ”

“ใช่ นี่คือเกมในบ้าน แต่ก็ใช่ว่าจะเห็นชัยชนะที่แน่นอน ดังนั้น ทั้งหมดที่เราวามารถทำได้ คือ มาสู้อย่างดีที่สุดกันเถอะ”

“ผมหวังว่าแฟน ๆ ของเราจะสามารถสนุกไปกับสิ่งที่เกิดขึ้นในตอนนี้ได้ และคุณยังปล่อยให้ตัวคุณเองได้มีความตื่นเต้นเล็กน้อย เพราะนั่นคือเรื่องของการเป็นแฟนบอลอย่างแท้จริง แต่สำหรับบรรดานักเตะ นี่ไม่ใช่เวลาสำหรับความฝัน มันคือเวลาสำหรับความมุ่งมั่น”

“มันไม่ใช่ว่าเราไม่มีคำแนะนำเพื่อสิ่งที่ได้ตระเตรียมไว้ ตารางแข่งนั้นเป็นไปเพื่อเราอย่างแท้จริง ซึ่งทำให้เรารู้ว่าเมื่อไรที่ความมุ่งมั่นของเราควรเปลี่ยนไปตามคู่แข่งเป็นการเฉพาะ วันนี้ มันคือวัตฟอร์ด และหลังจากเกมนี้คือการเตรียมตัว เล่นและวิเคราะห์เกมนี้ ก่อนจะไปสู่เกมถัดไป”

“อีกครั้ง เจ้านายและทีมงานของเราจะมองเห็นภาพที่ใหญ่กว่า และจะเตรียมตัวไปแต่ละเกม แต่เด็ก ๆ ทุกคนต่างเคยมีประสบการณ์และมีความรู้มากพอว่าการรับมือไปทีละเกมนั้นเป็นไปอย่างมีเหตุผล”

“ผมรู้ดีว่าเราจะถูกถามเกี่ยวสิ่งที่อาจเกิดในอนาคตและนั่นก็เข้าใจได้อย่างชัดเจน แต่ในทำนองเดียวกัน เราก็รู้ดีว่า เป้าหมายของเราไม่ได้ถูกทำให้ได้ผลอย่างดีที่วุดด้วยการนั่งจ้องลูกแก้วพยากรณ์และคิดว่าอะไรอาจเกิดขึ้น”

“การมีส่วนร่วมเดียวที่ผมจะเสนอคือว่า เราจะทุ่มเทต่อไปด้วยทั้งหมดที่เรามี ไม่สำคัญว่าเป็นรายการไหน ใครที่เป็นคู่ต่อสู้ของเรา หรือทีมไหนที่เจ้านายเลือก ผมสามารถพูดได้เต็มปากเลยว่านักเตะกลุ่มนี้ได้รับสิทธิ์ให้มีความภาคภูมิใจในตัวเองในการทุ่มเทเต็ม 100%”

“มันสมเหตุสมผลที่จะยึดมั่นในตัวเราเองต่อไปกับมาตรฐานในลักษณะนี้”

10 คำศัพท์ "การเงินดิจิทัล" น่ารู้ ปี 2022

การพัฒนาของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ มิติ โดยเฉพาะที่เห็นได้ชัดเจนคือ "ระบบการเงิน" ที่กลุ่ม "ธนาคาร" ผู้กุมอำนาจให้บริการทางการเงินไว้ในอดีต ต้องถูกท้าทายด้วยเทคโนโลยีต่างๆ ที่ทำให้สามารถทำธุรกรรมได้แบบไม่ต้องผ่านตัวกลางอย่างธนาคารและไม่ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมในหลายบริการ

เมื่อกำลังจะก้าวเข้าสู่ศักราชใหม่ 2022 ภาพเหล่านี้จะชัดเจนขึ้นตามเทคโนโลยีที่จะพัฒนาขึ้นไปอีกขั้น "กรุงเทพธุรกิจออนไลน์" ชวนทำความรู้จักกับคำศัพท์ต่างๆ เกี่ยวกับ "การเงินดิจิทัล" ที่คนใช้เงินทั้งหลายควรรู้ และจะมีโอกาสได้เจอหรือได้ใช้มากขึ้น ดังนี้

"บล็อกเชน" คือเทคโนโลยีการเก็บข้อมูล ที่ไม่มีตัวกลาง ใช้รูปแบบการจัดเก็บเป็นสำเนาไว้ในเครื่องของทุกคนที่ใช้ฐานข้อมูลเดียวกัน ทำให้ทุกคนรู้ว่าใครเป็นเจ้าของและมีสิทธิในข้อมูลตัวจริง เมื่อมีการอัพเดทข้อมูลใดๆ สำเนาข้อมูลในฐานเดียวกันก็จะอัพเดทตามไปด้วยทันที ทำให้ปลอมแปลงข้อมูลได้ยาก

ระบบนี้ถูกนำมาใช้ในการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล รวมถึง "Bitcoin" อีกทั้งยังสามารถพัฒนาไปใช้ในระบบอื่นๆ ที่ต้องการความโปร่งใสได้ด้วย

"คริปโทเคอร์เรนซี" คือ "สินทรัพย์ดิจิทัล" ประเภทหนึ่งที่อยู่ในระบบบล็อกเชน เกิดขึ้นมาเพื่อใช้แลกเปลี่ยนคล้ายกับเงิน แต่ไม่มีรูปร่าง จับต้องไม่ได้ จึงจัดว่าเหรียญคริปโทฯ เหล่านี้ เป็นทรัพย์สินดิจิทัล ที่สามารถซื้อขาย แลกเปลี่ยน และสะสมได้

"NFT" คือสินทรัพย์ดิจิทัลอีกประเภทหนึ่งในระบบบล็อกเชน ที่มีจุดเด่นคือสามารถใช้แสดงความเป็นเจ้าของบางสิ่งบางอย่างที่ไม่สามารถทำซ้ำหรือทดแทนกันได้

รู้จักโลกการเงินดิจิทัล กับ 4 วิธีปรับตัวรับอย่างราบรื่น

เป็นการยกระดับการให้ความรู้ ทักษะทางการเงิน และ การเงินดิจิทัล (Financial/Digital Literacy) ที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางการเงิน และช่วยให้ประชาชนเท่าทันพัฒนาการของเทคโนโลยีและภัยทางการเงินรูปแบบใหม่

• พัฒนาและปรับปรุงแหล่งข้อมูลความรู้ทางการเงินและการเงินดิจิทัลที่เข้าถึงได้ง่าย เท่าทันภัยทางการเงินรูปแบบใหม่และเหมาะกับกลุ่มเป้าหมายร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

• ให้ผู้ให้บริการทางการเงินมีบทบาทในการสร้างแรงจูงใจให้ผู้ใช้บริการทางการเงินมีพฤติกรรมทางการเงินที่ดี เช่น จูงใจให้มีการออมเผื่อเกษียณ หรือชำระหนี้ก่อนหรือตามกำหนด

ผ่านการผลักดันการให้สินเชื่อแก่รายย่อยอย่างเหมาะสมกับความสามารถของลูกค้าเพื่อดูแลไม่ให้ลูกค้าก่อหนี้จนเกินตัว โดยกำกับดูแลให้สถาบันการเงินและผู้ให้บริการสินเชื่อรายย่อยภายใต้การกำกับของ ธปท. พิจารณาให้สินเชื่อแก่รายย่อยโดยให้ความสำคัญกับการที่ลูกค้ามีเงินเหลือหลังหักชำระหนี้ทั้งหมดเพียงพอดำรงชีพและไม่ก่อหนี้จนเกินตัว

โดยเฉพาะอย่างยิ่งหนี้เพื่อการอุปโภคบริโภคที่เกินความจำเป็น เช่น ใช้สัดส่วนภาระหนี้ต่อรายได้ (debt service ratio: DSR) ในการพิจารณาสินเชื่อแก่ลูกค้าที่มีสถานะทางการเงินเปราะบางอย่างเคร่งครัดแม้จะสามารถหักเงินเดือนชำระหนี้ได้ก่อน

ทั้งนี้ ธปท. จะติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดและพิจารณาถึงความจำเป็นของการออกมาตรการดูแลเสถียรภาพระดับมหภาค (macroprudential) เพื่อช่วยชะลอการก่อหนี้เพื่อการอุปโภคบริโภคที่เกินความจำเป็นของภาคครัวเรือน หลังเศรษฐกิจมีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างเข้มแข็ง

แนวทางต้องจำเป็นต้องผลักดันกลไกการแก้หนี้ครัวเรือนอย่างครบวงจรสำหรับครัวเรือนที่มีหนี้สินล้นพ้นตัวให้สามารถปรับตัวและไปต่อได้ในระยะยาวโดยไม่กลับมามีหนี้สินล้นพ้นตัวอีก

โดยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำแผนการแก้ไขปัญหาหนี้สินของครัวเรือนที่มีหนี้ล้นพ้นตัวกับผู้ให้บริการหรือหน่วยงานอื่นอย่างยั่งยืน เช่น หนี้สหกรณ์ หนี้ข้าราชการ และหนี้กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)

รวมถึงการออกแบบแผนการชำระคืนหนี้ที่สอดคล้องกับความสามารถในการชำระหนี้ของลูกหนี้ในระยะยาวโดยต้องมีเงินเหลือหลังหักชำระหนี้เพียงพอดำรงชีพ การปรับปรุงเกณฑ์หรือเงื่อนไขการให้กู้ยืมเพื่อช่วยลดภาระในการผ่อนหนี้และเป็นธรรมกับผู้กู้มากขึ้น เช่น การปรับลำดับการตัดชำระหนี้โดยตัดเงินต้นก่อน เป็นต้น

เช่นเดียวกับการกำหนดเงื่อนไขที่สร้างแรงจูงใจให้ผู้กู้จ่ายคืนหนี้อย่างต่อเนื่องและปิดหนี้ได้เร็วขึ้น เช่น ลดเงินต้นสำหรับผู้กู้ที่มีประวัติการชำระดี

ในด้านสุดท้ายนี้ต้องผลักดันการจัดเก็บข้อมูลภาระหนี้ที่ครัวเรือนมีกับผู้ให้บริการหรือหน่วยงานต่าง ๆ อย่างครอบคลุม และนำไปใช้ในการพิจารณาให้สินเชื่อแก่รายย่อยอย่างเหมาะสม เพื่อให้ครัวเรือนที่มีศักยภาพเข้าถึงสินเชื่อได้อย่างเหมาะสมกับความสามารถด้วยราคาที่เป็น Risk-Based Pricing

รวมทั้งนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้แก้ไขปัญหาหนี้สินล้นพ้นตัวและลดการก่อหนี้เกินตัวของครัวเรือน เช่น

• ระยะสั้น ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผลักดันให้ผู้ให้บริการสินเชื่อรายย่อยที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน (Non-Bank Retail Lending) และสหกรณ์ออมทรัพย์รายสำคัญเข้าเป็นสมาชิกของบริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ (NCB)

• ระยะปานกลางถึงยาว ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสนับสนุนการเชื่อมต่อฐานข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ เป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่

ทั้งนี้ผู้ให้บริการสามารถนำไปใช้พัฒนาและนำเสนอบริการทางการเงินที่เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถของผู้ใช้บริการได้ดีขึ้น รวมถึงสามารถนำข้อมูลไปพัฒนาต่อยอดเป็นคะแนนทางการเงินของผู้ใช้บริการ ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างพฤติกรรมทางการเงินและวัฒนธรรมด้านสินเชื่อ (Credit Culture) ที่ดีในระบบการเงินต่อไป

Leave a Comment